การประชุมวิชาการนานาชาติวรรณคดีและวรรณคดีเปรียบเทียบ ครั้งที่ 2

ศูนย์วรรณคดีศึกษา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

18-19 สิงหาคม 2553 ณ ห้อง 105 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

____________________________________

 

พุธที่ 18 สิงหาคม 2553

7.45 – 8.45 น. ลงทะเบียน

 

8.45 – 9.00 น. พิธีเปิดการประชุม

-ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตรีศิลป์ บุญขจร ผู้อำนวยการศูนย์วรรณคดีศึกษา

ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต

สาขาวิชาวรรณคดีและวรรณคดีเปรียบเทียบ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 

9.00 – 9.45 น. Keynote speaker: Professor Dr. Robert J. Bickner

หัวหน้าภาควิชาภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน สหรัฐอเมริกา

“Lilit Phra Lo from a Linguistic Perspective”

 

9.45 – 10.00 น. พัก

 

10.00 – 12.00 น. ตอนที่หนึ่ง: การแปลกับวรรณคดีศึกษา

ประธานกลุ่ม: อาจารย์ ดร.สุรีย์ ชุณหเรืองเดช ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1. การศึกษาเปรียบเทียบสุนทรียภาพในกวีนิพนธ์ไทย-จีน: ข้อคิดจากการแปล ลิลิตพระลอ

(A Comparative Study in Aesthetic Features of Thai-Chinese Poetic Arts:

Some Consideration from Translating Lilit Phra Lo)

ผู้เสนอบทความ: โสง หราน นิสิตภาควิชาภาษาและวัฒนธรรมตะวันออก มหาวิทยาลัยปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน

2 Paratexts as Sites of the Struggle for Distinction:

Nineteenth-Century Orientalist Translations of Śakuntalā

ผู้เสนอบทความ: อาจารย์ ดร.แพร จิตติพลังศรี ภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3. กวีนิพนธ์สงครามจีนราชวงศ์ถัง: การศึกษาเชิงวาทกรรม

(Chinese War Poetry of the Tang Dynasty: A Discursive Study)

ผู้เสนอบทความ: รองศาสตราจารย์ ดร.พัชนี ตั้งยืนยง ภาควิชาภาษาตะวันออก

สาขาวิชาภาษาจีน คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

4. วิวาทะทางปัญญาและกลวิธีทางวรรณศิลป์ในปรัชญานิพนธ์ เมิ่งจื่อ

(Intellectual Debates and Modes of Expression in the Mengzi)

  ผู้เสนอบทความ: รองศาสตราจารย์ ดร.ปกรณ์ ลิมปนุสรณ์

  ภาควิชาภาษาจีน คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

 

12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน

 

13.00 – 14.30 น. ตอนที่สอง: วาทกรรมกับวรรณคดีศึกษา

ประธานกลุ่ม: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตรีศิลป์ บุญขจร ผู้อำนวยการศูนย์วรรณคดีศึกษา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1. จากการประพาสป่าล่าสัตว์สู่พระราชพิธีสังเวยกล่อมช้าง:

ความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่าง มนุษย์กับธรรมชาติในวรรณคดีไทย

(From the Promenade in the Forest of the Ritual of Sacrifice to the Royal Elephants:

The Power Relations between Human and Nature in Thai Literature)

ผู้เสนอบทความ: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธัญญา สังขพันธานนท์ ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

2. วาทกรรมความพิการในเรื่องเล่าสมัยใหม่ของไทย

(The Art of Exclusion: Disability Discourses in Thai Novels)

ผู้เสนอบทความ: อาจารย์ ถนอมนวล หิรัญเทพ ภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3. เด็กสามารถปลดแอกตนเองจากผู้ใหญ่ได้ไหม: โลกของเด็กในวรรณกรรมเด็กร่วมสมัยของเยอรมันกับของไทย

(Can Children Emancipate Themselves from Adults?: Children’s Worlds in Contemporary German and Thai Children’s Literature)

ผู้เสนอบทความ: อาจารย์ ดร.ศิริพร ศรีวรกานต์ ภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 

14.30 – 14.45 น. พัก

 

14.45 – 16.15 น. ตอนที่สาม: วรรณคดีเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประธานกลุ่ม: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตรีศิลป์ บุญขจร ผู้อำนวยการศูนย์วรรณคดีศึกษา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1. ผู้หญิงกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในวรรณกรรมลาวร่วมสมัย (Women and Social Change in Contemporary Laotian Literature) ผู้เสนอบทความ: อาจารย์ ดร.อุมารินทร์ ตุลารักษ์ ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2. การประกอบสร้างอัตลักษณ์ในนิทานพื้นเมืองลาวลุ่ม (The Identity Construction in Low Land Laotian’s Folktale)

ผู้เสนอบทความ: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ลาวัณย์ สังขพันธานนท์ ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

3. ท้องถิ่นกับกระแสโลกาภิวัตน์ในวรรณกรรมไทยร่วมสมัย: ต่อต้านหรือตอบรับโลกาภิวัตน์วัฒนธรรม

(Local and Globalization in Contemporary Thai Literature: Resistance or Acceptance in Cultural Globalization)

 ผู้เสนอบทความ: อาจารย์ ดร.ธนิกาญจน์ จินาพันธ์ สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

4. คุณยายสายเดี่ยวและwww.คุณย่า.com: ความปรารถนาของสตรีสูงวัยในยุคโลกาภิวัตน์ (Khun Yai Sai Diew and www.grandma.com: The Desire of Elderly Women in Globalized Age)

ผู้เสนอบทความ: รัญวรัชญ์ พูลศรี นิสิตปริญญาโทภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 

 

พฤหัสบดีที่ 19 สิงหาคม 2553

 

09.00 – 10.30 น. ตอนที่สี่: วรรณกรรมหลังสมัยใหม่

  ประธานกลุ่ม: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรเดช โชติอุดมพันธ์ ภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1. พินิจวรรณกรรมฟ้าบ่กั้น เรื่องสั้น “สวรรยา” ของคำสิงห์ ศรีนอก โดยใช้ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของ Jacques Lacan

(The Application of Jacgues Lacan’s Psychological Theory to Khamsing Srinok’s Fa Bo Kan)

ผู้เสนอบทความ: อาจารย์ชญาน์ทัต ศุภชลาศัย อาจารย์ประจำหลักสูตรรัฐศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต 2. เขาวงกตกับการแสวงหาแบบหลังสมัยใหม่ในนวนิยายโต้ขนบสืบสวนสอบสวน

(Labyrinth and Postmodern Quest in Anti-Detective Novels)

ผู้เสนอบทความ: อลิสา สันตสมบัติ อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3. วิถีเมืองในงานเขียนของปราบดา หยุ่น (Urban Ways of Life in Prabda Yoon’s Works)

ผู้เสนอบทความ: กฤษฎา ขำยัง อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 

10.30 – 10.45 น. พัก

 

10.45 – 12.00 น. ตอนที่ห้า: เพศสถานะกับวรรณคดีศึกษา

ประธานกลุ่ม: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติมา ประกาศวุฒิสาร ภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1. ฝรั่งและเมืองไทย : ภาพผู้หญิงไทยในนวนิยายตะวันตกร่วมสมัย

(Farangs and Thailand: Images of Thai Women in Contemporary Western Novel)

  ผู้เสนอบทความ: อาจารย์ ดร.นพมาตร พวงสุวรรณ หมวดวิชาภาษาต่างประเทศ โรงเรียนเทพศิรินทร์

2.
บทบาทของความทรงจำในวรรณกรรมพลัดถิ่น: การศึกษาเรื่อง My Vanished World
ของ Nel Adams (The Role of Memory in Writing Diaspora: A Study of Nel
Adams’ My Vanished World)

 ผู้เสนอบทความ: อาจารย์จิราภรณ์ อัจฉริยะประสิทธิ์ ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

3.

การประกอบสร้างหญิงไทยในฐานะวัตถุแห่งความปรารถนาในงานเขียนเยอรมันร่วมสมัย
(The Construction of Thai Women as an Object of Desire in Contemporary
German Writings)

ผู้เสนอบทความ: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จินดา ศรีรัตนสมบุญ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

 

12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน

 

13.00 – 15.00 น. ช่วงที่หก: อัตลักษณ์กับวรรณคดีศึกษา ประธานกลุ่ม: อาจารย์ ดร.ทอแสง เชาว์ชุติ ภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1. ความเป็นชายที่เปลี่ยนไป สังคมไทยที่เปลี่ยนแปลง (Development of Masculinity and Social change)

ผู้เสนอบทความ: อาจารย์ ดร.สหะโรจน์ กิตติมหาเจริญ ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 2. กาก็ไม่ใช่ หงส์ก็ไม่เชิง: อัตลักษณ์ชายขอบของลูกเมียน้อยในนวนิยายเรื่องด้วยแรงอธิษฐาน

(Neither a Crow nor a Swan: Marginalized Identity of a Minor Wife’s Child in Duarandathithan)

ผู้เสนอบทความ: อนัญญา วารีสอาด นิสิตปริญญาโทภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3.
เรื่องเล่า เรือนร่างกับการสร้างอัตลักษณ์เกอิชาในเรื่อง เกอิชา, อะไลฟ์
ของมิเนะโกะ อิวะซะกิ (Narrative, Body, and Identity Construction in
Mineko Iwasaki’s Geisha, A Life)

ผู้เสนอบทความ: วชิรกรณ์ อาจคุ้มวงษ์ อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

4.
อเมริกันส่าหรี”:
มายาคติเรื่องการแต่งงานในนวนิยายของนักเขียนหญิงอินเดียพลัดถิ่นและ
นักเขียนหญิงอเมริกันเชื้อสายอินเดีย American Sari”: Myths of Marriage
in the Novels of Indian Diaspora and Indian American Women Writers

ผู้เสนอบทความ: สิริรัตน์ ผลหมู่ นิสิตปริญญาเอก สาขาวิชาวรรณคดีและวรรณคดีเปรียบเทียบ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 

15.00
– 15.30 น. สรุปการประชุม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตรีศิลป์ บุญขจร
ผู้อำนวยการศูนย์วรรณคดีศึกษา
ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชาวรรณคดีและวรรณคดีเปรียบเทียบ คณะอักษรศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ____________________________________

 

 

ใบสมัคร

การประชุมวิชาการนานาชาติ วรรณคดีและวรรณคดีเปรียบเทียบ

ครั้งที่ 2 18-19 สิงหาคม 2553

 

ชื่อ-นามสกุล……………………………………………………………………………..

หน่วย
งาน………………………………………………………………………………………………………………………………..

ที่อยู่ติดต่อ….

โทรศัพท์……………………

โทรสาร……………………………………

E-mail… ………………………..

 

ผู้สนใจสามารถลงทะเบียนได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย

ผู้ที่ลงทะเบียนล่วงหน้าเท่านั้นที่จะได้รับเอกสารประกอบการประชุม

ส่งใบสมัครทางไปรษณีย์ / โทรสาร หรือ E-mail ศูนย์วรรณคดีศึกษา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พญาไท กรุงเทพฯ 10330

โทรศัพท์ / โทรสาร 02-218-4631, 089-105-9721 E-mail: [email protected]